วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

บันทึกหลังการเรียนการสอน

วันที่ 15 กันยายน 2557
เวลา 14.10 น. - 16.40 น.


ความรู้ที่ได้รับ,,,


การนำไปพัฒนา,,,
     นำเอาความรู้ที่เรียนเป็นตัวอย่างแนวทางในการดูแลและการจัดกานเรียนการสอนกับเด็กปฐมวัยที่เป็นเด็กพิเศษได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 

การประเมินผล,,,
  • ตนเอง  เข้าเรียนตรงต่อเวลา  มีความพยายามเข้าใจในเนื้อหาที่อาจารย์สอน 
  • เพื่อน    เข้าเรียนตรงต่ิอเวลา  ตั้งใจเรียน ( แอบหลับบ้าง )
  • อาจารย์  ตั้งใจสอนเเละอธิบายเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจทุกคน 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกหลังการเรียนการสอน

วันที่ 8 กันยายน 2557
เวลา 14.10 น. - 16.40 น.

ความรู้ที่ได้รับ,,,




เพื่อนๆ แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอประเภทของเด็กพิเศษ 6 ประเภท ดังนี้ ...
  1. เด็กปัญญาเลิศ : มักจะตอบคำถามด้วยคำถาม
  2. เด็กออทิสติก   : เป็นความผิดปกติในสมอง 
  3. ดาวน์ซิมโดม   : เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21 จะมีขาเพิ่มมาอีก 1 ขา ( เป็น 3ขา )
  4. สมาธิสั้น 
  5. เด็ก LD           : เป็นโรคบกพร่องทางการเรียนรู้ เช่น ความบกพร่องด้านการอ่าน , ความบกพร่องด้านการเขียน และ ความบกพร่องด้านอารมณ์ 
  6. เด็ก CP            : สมองพิการส่งผลไปทางกล้ามเนื้อและจะมีโรคลมชักร่วมด้วย
การประเมินผล,,,
  • ตนเอง  มีการจดบันทึก ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงต่อเวลา 
  • เพื่อน    เข้าเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียน ไม่ส่งเสียง แต่คุยกัน
  • อาจารย์ มีเทคนิคในการสอน เช่น การยกตัวอย่าง  เนื้อหาเข้าใจง่าย มีการใช้คำถาม

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2 และ ครั้งที่ 3

บันทึกหลังการเรียนการสอน

วันที่  25  สิงหาคม  2557
และ
วันที่  1  กันยายน  2557
เวลา 14.10 น. - 16.40 น.


ความรู้ที่ได้รับ,,,


สิ่งที่ต้องนำไปพัฒนา 

ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในการสอนเด็กพิเศษ รู้ความต้องการของเด็กพิเศษด้วย

การประเมินผล

  • ตนเอง ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงต่อ ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
  • เพื่อน  ตั้งใจเรียนแต่มีบ้างคนที่พูดคุยกัน เข้าเรียนตรงต่อเวลา
  • อาจารย์  มีการยกตัวอย่าง มีการสอนที่เข้าใจง่าย 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

บันทึกหลังการเรียนการสอน

วันที่ 18 สิงหาคม 2557
เวลา 14.10 น. - 16.40 น.

ความรู้ที่ได้รับ ,,,

อาจารย์แนะแนวอธิบาย ความหมาย ขอบเขต พัฒนาการ  และพฤติกรรมของเด็กพิเศษปฐมวัย ร่วมถึงสาเหตุของพฤติกรรมเด็กพิเศษปฐมวัย ประเภทของเด็กพิเศษ การปรับพฤติกรรม การเฝ้าระวัง การอบรมเลี้ยงดูเด็กพิเศษปฐมวัย